ปริยัติธรรม
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554
พระครูปลัดสัมพิพัฒนธรรมาจารย์ (ประเสริฐ มนฺตเสวี), พระนิพพาน, 2556
พรรณนาคาถาว่า เย ปุคฺคลา, อรรถกถาขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ รัตนสูตรในขุททกปาฐะ พรรณนารัตนสูตร
พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
ในศาสนาพุทธ พระอรหันต์ คือ พระอริยบุคคลชั้นสูงสุด สามารถละสังโยชน์ได้ครบ ๑๐ ประการ
ประเภท
แบ่งตามสถานะ มี ๓ ประเภท
ประเภท
แบ่งตามสถานะ มี ๓ ประเภท
- พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า หรือ พระพุทธเจ้า คือผู้ตรัสรู้แล้วได้ก่อตั้งศาสนาพุทธ สามารถโปรดเวไนยสัตว์ให้หลุดพ้นเป็นอรหันต์ตามได้
- พระปัจเจกพุทธเจ้า คือผู้ตรัสรู้แล้ว แต่ไม่ประกาศศาสนา ไม่มีสาวก เกิดขึ้นเฉพาะในยุคที่โลกไม่มีพระพุทธศาสนาเท่านั้น
- พระอรหันตสาวก คือสาวกผู้บรรลุเป็นพระอรหันต์ จากการปฏิบัติตามธรรมวินัยของพระพุทธเจ้า
- สุกขวิปัสสกะ (สุกข - แห้งแล้ง) ผู้เจริญวิปัสสนาล้วน แล้วได้ปฐมฌานเมื่อบรรลุอรหัตตผล เรียกอีกอย่างว่าวิปัสสนายานิก
- สมถยานิก ผู้มีสมถะเป็นยาน ผู้เจริญสมถกรรมฐานจนได้ฌานก่อน แล้วจึงเจริญวิปัสสนาต่อจนบรรลุอรหัตตผล เรียกอีกอย่างว่า อุภโตภาควิมุต
- สุกขวิปัสสกะ ผู้เจริญวิปัสสนาล้วน
- เตวิชชะ ผู้ได้วิชชา ๓
- ฉฬภิญญะ ผู้ได้อภิญญา ๖
- ปฏิสัมภิทัปปัตตะ ผู้บรรลุปฏิสัมภิทา ๔
- ปัญญาวิมุต
- อุภโตภาควิมุต
- เตวิชชะ
- ฉฬภิญญะ
- ปฏิสัมภิทัปปัตตะ
- ไกลจากกิเลส
- กำจัดกิเลสได้หมดสิ้น
- เป็นผู้หมดสังสารวัฏ คือ การเวียนว่ายตายเกิด
- เป็นผู้ควรแก่การบูชาพิเศษของเทพและมนุษย์ทั้งหลาย
- ไม่มีที่ลับในการทำบาป ไม่มีความชั่วเสียหายที่จะต้องปิดบัง